ผลงานวิชาการของอาจารย์ที่ได้รับการตีพิมพ์ 2564



  • ชลธิชา อมาตยคง, โรชินี อุปรา และ เอกชัย กันธะวงศ์. (2564). ประสิทธิผลของโปรแกรมการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงต่อการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้สูงอายุโรคเบาหวาน. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 8(2), 232-245.
    สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/scnet/article/view/246719.


  • ปุลวิชช์ ทองแตง และ จันทร์จิรา สีสว่าง. (2021). การพัฒนาเครื่องมือประเมินการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง. วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(2), 12-23. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/244343.


  • พรพรรณ มนสัจจกุล, ธวัชชัย เขื่อนสมบัติ, ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง และ จิราพร วรวงศ์. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุเพื่อเสริมสร้างความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 13(1), 186-197. สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/unc/article/view/247040/169441


  • พรพรรณ มนสัจจกุล, รุ่งนภา ประยูรศิริศักดิ์ และ มัลลิกา มากรัตน์. (2021). การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนแม่นนท์ ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(9), 32-49. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/253712.


  • พรพรรณ มนสัจจกุล, ชูศักดิ์ ยืนนาน และ พิเชษฐ แซ่โซว. (2564). ความต้องการของชุมชนต่อสถาบันการศึกษาพยาบาลในการพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพ. วารสารวิจัยการพยาบาลและสุขภาพ, 22(3), 1-13. สืบค้น จาก https://he01.tci thaijo.org/index.php/bcnpy/article/view/250592.


  • พรพรรณ มนสัจจกุล , ธวัชชัย เขื่อนสมบัติ และ จิราพร วรวงศ์. (2021). ประสบการณ์ของนักศึกษาพยาบาลในการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อเติมในการเรียนรายวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(2), 225-239. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/250500.


  • พิชญ์สินี มงคลศิริ, จุรีรัตน์ กิจสมพร, สตรีรัตน์ ธาดากานต์, สุลี ทองวิเชียร, สร้อย อนุสรณ์ธีรกุล, วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ, กิตติพร เนาว์สุวรรณ, เพ็ญพักตร์ ลูกอินทร์, กรองแก้ว ราษฎรดี, อัมภิชา นาไวย์ , นวลใย พิศชาติและ ชนม์นิภา ใจดี. (2021). การกำหนดระดับความไว้วางใจให้ปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลวิชาชีพในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต: การศึกษาเบื้องต้นในประเทศไทย. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 31(1), 161-176. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tnaph/article/view/250662.


  • พิมพ์ใจ อุ่นบ้าน และ สุรดา ถนอมรัตน์. (2564). การพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาพยาบาล ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(11), 1-20. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/254419.


  • พิมพ์ใจ อุ่นบ้าน, สุมิตรพร จอมจันทร์ และ ณิชชา ทิพย์วรรณ์. (2564). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและการควบคุมความดันโลหิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 13(2), 59-72. สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/unc/article/view/249666.


  • โรชินี อุปรา, ชยธิดา นนท์เมธาวัฒน์, ทิพย์ ลือชัย, วราภรณ์ บุญยงค์, ปวีณา ยศสุรินทร์ และ ชลกนก ธนาภควัตรกุล. (2564). ผลของการพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขต่อความรู้และทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 13(2), 73-86. สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/unc/article/view/253815.


  • สุทธิดา พงษ์พันธ์งาม, แสงเดือน พรมแก้วงาม, สุทธิลักษณ์ จันทะวัง, อัมภิชา นาไวย์ และ วราภรณ์ ยศทวี. (2564). คุณสมบัติในการวัดทางจิตของแบบประเมินภาวะวิตกกังวลในผู้สูงอายุฉบับสั้นภาษาไทย. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 8(3), 61-71. สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/scnet/article/view/249225.


  • สุพรรณิการ์ ปิยะรักษ์. (2021). การประเมินกลุ่มอาการภายหลังสมองได้รับการกระทบกระเทือนในผู้ที่มีสมองบาดเจ็บระดับไม่รุนแรง . วารสารพยาบาล, 70(3), 57-63. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJN/article/view/248833.


  • สุมิตรพร จอมจันทร์, ชัฌฎา ลอมศรี, อรทัย เจียมดำรัส, สุรินทร อิวปา และ อริสา หาญเตชะ. (2021). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัวตายในชุมชนแห่งหนึ่ง ของจังหวัดทางภาคเหนือตอนบน. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(6), 1-17. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/247163. bbb


  • ศศิธร ชิดนายี. (2564). การดูแลผู้เป็นเบาหวาน: บทบาทของพยาบาลในสถานการณ์การระบาดของโควิด 19. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 13(1), 30-46. สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/unc/article/view/249510.


  • ศศิธร ชิดนายี, สุมิตรพร จอมจันทร์, พิมพ์ใจ อุ่นบ้าน และ ปลื้มจิต โชติกะ. (2564). การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ.2560) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 13(2), 199-214. สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/unc/article/view/253403.


  • ศุทธินี วัฒนกูล, ณัฐหทัย สิงห์คง และ น้ำเพชร ตั้งยิ่งยง. (2564). มุมมองของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและนักบริบาลผู้สูงอายุ ในด้านคุณภาพชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปาก. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 30(1), 44-53. สืบค้น จากhttps://thaidj.org/index.php/JHS/issue/view/833.


  • ศรีจันทร์ ฟูใจ และ พรพรรณ มนสัจจกุล. (2564). การสร้างความรู้ การแลกเปลี่ยนความรู้ และการนำความรู้ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยไปใช้ ชุมชนดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(10), 140-156. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/256130.


  • Nawai, A., Phongphanngam, S., Khumrungsee, M., & Leveille, S.G. (2021). Factors Associated with Nutrition Risk among Community-Dwelling Older Adults in Thailand. Geriatric Nursing, 42(5), 1048-1055. Retrieved from https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S0197457221002226.


  • Thongtang, P., Fongkaew, W., Sansiriphun, N., & Chaloumsuk, N. (2021). My Thing Is Dead: Experience of Dealing with Diabetic Erectile Dysfunction of Northern Thai Men. Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 25(2), 255-268. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/242420.