ผลงานวิชาการของอาจารย์ที่ได้รับการตีพิมพ์ 2568




  • นงคราญ ศรีสง่า และพิมพ์ใจ อุ่นบ้าน. (2568). ผลของกิจกรรม Early skin to skin contact ระหว่างมารดาและทารกที่ได้รับ การผ่าตัดคลอดต่อประสิทธิภาพการดูดนมของทารกและความผูกพันระหว่างมารดาและทารก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 1 เชียงใหม่. วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อมล้านนา, 15(1), 3786-3802.


  • จันทร์ฉาย สิงห์นนท์, ปลื้มจิต โชติกะ และกฤษณา กาเผือก. (2568). การพัฒนารูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อภาวะเบาหวานในขณะตั้งครรภ์ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 1 เชียงใหม่. วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมล้านนา, 15(1), 94-109.


  • เอกชัย กันธะวงศ์, ชลธิชา อมาตยคง, ปวีณา ยศสุรินทร์, โรชินี อุปราและชยธิดา นนท์เมธาวัฒน์. (2568). เรื่อง ประสิทธิผลของการอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงโดยใช้ชุดสื่อการสอนแบบหลากหลายต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะปฏิบัติในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิจัยการพยาบาลและการสาธารณสุข, 5(1), e271405.


  • ศุทธินี วัฒนกูล, กมลทิพย์ ตั้งหลักมั่นคง, สุรศักดิ์ สุนทร, บุญเตือน วัฒนกุล และศรีสุดา งามขำ. (2568). วารสารวิจัยการพยาบาลและการสาธารณสุข, 5(1), e271077.


  • ประไพศรี กาบมาลา, เยาวลักษณ์ มาก๋า และสุปราณี โฆวัชรกุล. (2568). ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของสตรีตั้งครรภ์ที่รับบริการในแผนกฝากครรภ์ โรงพยาบาลทั่วไปในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยการพยาบาลและการสาธารณสุข, 5(1), e271570.


  • ดวงดาว ลิขิตตระการ และณัฏฐชญาดา ราชวัง. (2568). ผลการพัฒนาสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพด้านการประเมินความฉุกเฉินและความรุนแรงของผู้ป่วยนอก และอุบัติการณ์ทางคลินิก งานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลหางดง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยการพยาบาลและการสาธารณสุข, 5(1), e271458.


  • ทิพย์ ลือชัย และสุพรรณิการ์ ปิยะรักษ์. (2568). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคจิ๊กซอว์ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์. วารสารวิจัยการพยาบาลและการสาธารณสุข, 5(1), e272450.


  • Nawai, A., Anukul, S., Prommanat, P., Hengmat, P., Khanthamun, N., Lingkum, P., Noila, K., & Sasithonbamrung, A. (2025). Development of the Learning Media Application "BCNC Smart IV" for Nursing Students through the ADDIE Model. Higher Education Studies, 15(2), 122-134. https://doi.org/10.5539/hes.v15n2p122


  • Sorasak, C., Nak-Ai, W., Yuennan, C., & Wongsapai, M. (2025). Nutritional Literacy for Individual Oral Health Among Village Health Volunteers in Public Health Region 1 of Thailand. Health Care Science, 4(1), 25-34. https://doi.org/10.1002/hcs2.131


  • บุญเตือน วัฒนกุล, ศรีสุดา งามขำ, ศุทธินี วัฒนกุล, สุรศักดิ์ สุนทร และกมลทิพย์ ตั้งหลักมั่นคง. (2568). การส่งยาทางไปรษณีย์สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานในสถานการณ์ระบาดโรคโควิด-19 ในประเทศไทย. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 34(1), 108-119.


  • ภิตินันท์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, ชลกนก ธนาภควัตกุล และสืบตระกูล ตันตลานุกูล. (2568). ผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนโดยใช้สถานการณ์จําลองต่อความรู้ ทักษะและการรับรู้ความสามารถของตนเองในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิจัยการพยาบาลและการสาธารณสุข, 5(1), e270526.


  • ศรินญาภรณ์ จันทร์ดีแก้วสกุล, สินี พวงเงินมาก, โอภาส รัตนมหามณีกร และอารีรัตน์ บัวคํา. (2568). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนบ้านโป่งดิน ตําบลป่าเมี่ยง อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยการพยาบาลและการสาธารณสุข, 5(1), e271968.


  • พูลทรัพย์ ลาภเจียม, วราภรณ์ บุญยงค์ และวริศา วรวงศ์. (2568). ผลของการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมกับการทับหม้อเกลือในมารดาหลังคลอดต่อความตระหนักทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 18(1), 65-79.


  • ศุกร์ใจ เจริญสุข, ทุติยรัตน์ รื่นเริง, เกศราภรณ์ ชูพันธ์, ชรริน ขวัญเนตร, กมลรัตน์ เทอร์เนอร์ และสุนทราวดี เธียรพิเชฐ. (2568). ปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การใช้ยาอย่างสมเหตุผลในการพยาบาลจิตเวชต่อความรู้และความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 35(1), 71-84.